Food Science and Technology Association of Thailand

  • Home
    • About Us
    • Committee
    • FoSTAT Annual Report
    • รูปภาพกิจกรรมของสมาคมฯ
  • Activities
    • Award
      • Ajinomoto – FoSTAT Award
      • FoSTAT Recognition Award
      • Professional Development Award
    • Food Science and Technology professional standard
      • Certified Food Professional (CFoP)
      • มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ
    • Conference and workshop
      • Food Innovation Asia Conference
      • Food Ingredients Asia Conference
    • Curriculum and scholarship
      • Curriculum Recognition
      • Agro-Industry Academic Council Association (AIAC)
    • FoSTAT – Nestlé Quiz Bowl (FNQB)
    • Food Innovation Contest (FIC)
    • Food Innovation & Regulation Network (FIRN)
    • Corporate Social Responsibility (CSR)
  • Training
    • Public Training
    • Food Safety Forum
    • FoSTAT-FDA Training
    • In-house Training
  • Consultation
    • Food Safety Consultation
    • Thai FDA License
  • News & Articles
  • Membership
    • Member drive
    • Career Center
  • Contact Us

6 แนวทางการปกป้องผลิตภัณฑ์จากการก่อการร้าย (Food Defense)


มาทำความเข้าใจกันก่อนว่าการก่อการร้ายทางอาหารคืออะไร ??

การก่อการร้ายทางอาหาร คือการโจมตีต่อผลิตภัณฑ์อาหารหรือเครื่องดื่มโดยเจตนา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความสูญเสียหรืออันตรายขึ้นจากความตั้งใจที่ไม่ดีของบุคคลต่างๆ  เพื่อป้องกันการก่อการร้ายทางอาหารเราจึงจำเป็นจะต้องมีการวางแผนการป้องกันขึ้นมา หรือที่เรียกกันว่า Food Defense
 
Food Defense หมายถึง กระบวนการที่ทำให้มั่นใจในการรักษาความปลอดภัยอาหารและเครื่องดื่มจากการโจมตีที่เป็นอันตรายโดยเจตนา รวมถึงการโจมตีด้วยแรงบันดาลใจในอุดมคติที่นำไปสู่การปนเปื้อน
แล้วเราจะมีแนวทางการปกป้องผลิตภัณฑ์จากการก่อการร้ายได้ยังไงบ้างไปดูกันได้เลย
1.       ทำความเข้าใจคน  ทั้งคนในและคนนอกองค์กร เพื่อพิจารณาความเสี่ยงที่จะเกิดแนวโน้มการก่อการร้าย/ประสงค์ร้าย (Terrorist)
2.       ทำความรู้จักอันตรายต่างๆ (ภายใน+ภายนอก) เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากอันตรายที่จะเกิดจากการประสงค์ร้าย
3.       ศึกษาหาแนวทางการลดผลกระทบจากภัยคุกคามจากแหล่งต่างๆ ที่เชื่อถือได้ เช่น BRCGS / IFS / FSSC22000 เป็นต้น และประเมินตนเอง/โรงงาน
4.       จัดทำแนวทางการลดผลกระทบจากภัยคุกคามและทำการสื่อสารให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ
5.       ประยุกต์ใช้แนวทาง/มาตรฐานต่างๆ ที่มีแนวทาง/คำแนะนำในการบรรเทาผลกระทบจากภัยคุกคามจากผู้ที่จะก่อการร้ายตามแนวทางนั้นๆ
6.       ทวนสอบมาตรการลดผลกระทบและสร้างความรู้ความเข้าใจของบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม

และนี่คือแนวทางคร่าวๆเบื้องต้นสำหรับการปกป้องผลิตภัณฑ์ของเราจากการก่อการร้าย เพราะหากเกิดเหตุไม่คาดคิดโดยที่ไม่ได้มีมาตรการรับมือแล้วนั้น ผลกระทบที่ตามมานอกจากจะเกิด ความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคแล้ว ยังส่งกระทบกับภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่นที่เราสร้างมาอย่างยากลำบากด้วย นอกจากนั้น Food Defense ยังเป็นมาตรฐานบังคับในการจัดทำระบบมาตรฐานในระดับสูง ( เช่น BRCGS / IFS / FSSC22000) อีกด้วย

หากสนใจเรียนเรื่อง  Food Defense แบบเจาะลึก  FoSTAT มีหลักสูตร การป้องกันการก่อการร้าย การกลั่นแกล้ง การก่ออาชญากรรมทางอาหาร (food defense) ที่จะจัดขึ้นวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00-16.30 น. ดยสามารถลงทะเบียนได้ที่  https://bit.ly/2BmnvQ0    หรือ อ่านรายละเอียดหลักสูตรเพิ่มเติม   มาสร้างความปลอดภัยและยกระดับมาตรฐานการทำงานไปด้วยกันได้เลย 

PR NEWS


  • บริการเรียนย้อนหลังออนไลน์ November 05, 2024

  • ประเภทของเอกสารในระบบมาตรฐาน GHPs / HACCP July 30, 2024

  • พัฒนากระบวนการปฏิบัติงานด้วยหลัก PDCA July 30, 2024

  • 5 เคล็ดลับเลือก Pest Control Operator (PCO) ให้ปัง May 17, 2024

  • รู้จักกับ Integrated Pest Management (IPM) Program ตัวช่วยยกรับการจัดการแมลงในโรงงานอาหาร May 16, 2024

  • SITEMAP

  • Program
    • Award
      • Ajinomoto – FoSTAT Award
    • Food Science and Technology Professional Standard
      • Certified Food Professional (CFoP)
      • มาตรฐานและคุณวุฒิวิชาชีพ
    • Conference and workshop
      • Food Innovation Asia Conference
      • Food Ingredients Asia Conference
    • Curriculum and scholarship
      • Curriculum Recognition
      • Agro-Industry Academic Council Association (AIAC)-Industry Academic Council Association (AIAC)Food Ingredients Asia Conference
    • FoSTAT – Nestlé Quiz Bowl (FNQB)
    • Food Innovation Contest (FIC)


  • Home
    • About Us
    • Committee
    • Gallery
  • Training
  • Communication
  • Membership
    • Membership drive
    • Career Center
  • Contact Us

  • เลขที่ 50 อาคารอมร ภูมิรัตน ชั้น 7 ห้อง 722 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

    02 9428 528 | 08 3902 3362

    pr@fostat.org

    สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT)

Copyright © 2016 FoSTAT. Developed by Sundae Solutions

Please wait...