Food Science and Technology Association of Thailand

  • Home
    • About Us
    • Committee
    • FoSTAT Annual Report
    • รูปภาพกิจกรรมของสมาคมฯ
  • Program
    • Award
      • Ajinomoto – FoSTAT Award
      • FoSTAT Recognition Award
      • Professional Development Award
    • Food Science and Technology professional standard
      • Certified Food Professional (CFoP)
      • มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ
    • Conference and workshop
      • Food Innovation Asia Conference
      • Food Ingredients Asia Conference
    • Curriculum and scholarship
      • Curriculum Recognition
      • Agro-Industry Academic Council Association (AIAC)
    • FoSTAT – Nestlé Quiz Bowl (FNQB)
    • Food Innovation Contest (FIC)
    • Food Innovation & Regulation Network (FIRN)
    • Corporate Social Responsibility (CSR)
  • Training
    • Public Training
    • Food Safety Forum
    • FoSTAT-FDA Training
    • In-house Training
  • Consultation
    • Food Safety Consultation
    • Thai FDA License
  • Communication
  • Membership
    • Member drive
    • Career Center
  • Contact Us

Chocolate 101 : แหล่งที่มาและอนาคตช็อกโกแลตไทย (Ep.05)


Q : วัตถุดิบในการผลิตช็อกโกแลตมาจากแหล่งใดบ้างและในไทยมาจากแหล่งไหนมากที่สุด

A : แหล่งผลิตหลักของโกโก้  :  ถ้าเป็นการนำเข้าจะเป็นแถบแอฟริกาตะวันตก  โดยเฉพาะไอวอรี่โคสต์ซึ่งเป็นประเทศที่มีผลผลิตของโกโก้มากที่สุดในโลก ตามมาด้วยกาน่าที่มีผลผลิตรองลงมา แต่เรื่องคุณภาพก็ถือว่าเป็นที่ที่มีคุณภาพที่ดี นอกจากนี้ก็ยังมีอินโดนิเชียที่ปัจจุบันก็มีการผลิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าในประเทศไทยปัจจุบันก็มีการปลูกต้นโกโก้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะจังหวัดหลักๆจะเป็น เชียงราย,พิษณุโลก,นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี, ประจวบคีรีขันธ์,จันทบุรี, อุดรธานี, และหนองคาย ซึ่งประเทศของเราปลูกต้นโกโก้ได้ทุกภาค โดยต้นโกโก้จะปลูกได้ดีในช่วงระหว่างยี่สิบองศาเหนือเส้นศูนย์สูตรกับยี่สิบองศาใต้เส้นศูนย์สูตร  ซึ่งไทยก็อยู่ในเขตนั้นอยู่แล้วและอุณหภูมิเฉลี่ยที่เหมาะสมควรอยู่ที่ 27 ̊c ตลอดทั้งปี บ้านเราสามารถปลูกได้และกำลังจะมีผลผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นผลผลิตที่มาจากการนิยมปลูกกันในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา และจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการในเรื่องของการควบคุมคุณภาพและการตลาดให้ดี

Q : แล้วอนาคตช็อกโกแลตของไทยควรพัฒนาต่อไปอย่างไร

A : ในอนาคตจะมีผลผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งเราจำเป็นที่จะต้องวางแผนในเรื่องการบริการจัดการที่ดี โดยเราควรจะ

  1.     ต้องดูในเรื่องของคุณภาพของวัตถุดิบเพื่อใช้ประโยชน์ในอนาคต ช็อกโกแลตที่เราผลิตมาได้นั้นต้องมีคุณภาพที่ดีตามมาตรฐานสากลหรือมีคุณภาพลักษณะเฉพาะของการเป็นช็อกโกแลตไทย (อาจจะเน้นเรื่องของ - กลิ่นรสที่มีความเฉพาะตัว) ซึ่งถ้าเราดึงตรงนี้ออกมาเป็นเอกลักษณ์ได้ มันจะช่วยทำให้เราสามารถส่งออกและดึงความน่าสนใจได้  ขณะเดียวกันกระบวนการหมักก็ต้องถูกต้องเหมาะสมและเป็นมาตรฐานเดียวกัน
  2.     ในส่วนของผู้ผลิตในระดับอุตสาหกรรมเป็นส่วนที่ยังขาด แน่นอนว่าเรามีผู้ผลิตที่เป็น ระดับ craft  chocolate หลายเจ้าซึ่งก็มีหลายเจ้าที่ทำกันออกมาได้ดี แต่ว่าปริมาณการผลิตของ craft chocolate ไม่ได้มีมากเพียงพอที่จะรองรับปริมานของผลผลิตโกโก้ที่จะมีเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตเพราะฉะนั้นอาจจะเกิดการล้นตลาดได้  ดังนั้นถ้ารัฐบาลสนับสนุนหรือส่งเสริมให้มีผู้ผลิตที่สามารถรับซื้อปริมาณมากได้ก็จะช่วยตรงนี้ได้
  3.     ในเรื่องของผงโกโก้ ปัจจุบันเรายังผลิตผงโกโก้ได้น้อยมากซึ่งเรายังขาดองค์ความรู้ในเรื่องของเครื่องจักรที่ใช้ในการบดผงโกโก้ที่ดีมีคุณภาพและขาดทักษะในเรื่องการปรับด่าง (alkalization) ขณะที่ SME ในบ้านเราต้องพัฒนาปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ของเขาให้สู้กับคนอื่นได้ให้มีความแตกต่างในเรื่องของรสชาติที่ดีแตกต่างจากเจ้าอื่นได้ รวมไปถึงรูปร่างหน้าตาที่แตกต่าง,บรรจุภัณฑ์ที่ต่างออกไป และต้องให้ความรู้เรื่องการตลาดควบคู่กันไปด้วย

PR NEWS


  • อัปเดตกฎหมายและระบบมาตรฐานด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร March 13, 2023

  • Food Science Food Talk March 21, 2023

  • Chocolate 101 : แหล่งที่มาและอนาคตช็อกโกแลตไทย (Ep.05) February 27, 2023

  • Chocolate 101 : ชนิดของช็อกโกแลต (Ep.04) February 24, 2023

  • Chocolate 101 : 8 ขั้นตอน การผลิตช็อกโกแลต (Ep.03) February 22, 2023

  • SITEMAP

  • Program
    • Award
      • Ajinomoto – FoSTAT Award
    • Food Science and Technology Professional Standard
      • Certified Food Professional (CFoP)
      • มาตรฐานและคุณวุฒิวิชาชีพ
    • Conference and workshop
      • Food Innovation Asia Conference
      • Food Ingredients Asia Conference
    • Curriculum and scholarship
      • Curriculum Recognition
      • Agro-Industry Academic Council Association (AIAC)-Industry Academic Council Association (AIAC)Food Ingredients Asia Conference
    • FoSTAT – Nestlé Quiz Bowl (FNQB)
    • Food Innovation Contest (FIC)


  • Home
    • About Us
    • Committee
    • Gallery
  • Training
  • Communication
  • Membership
    • Membership drive
    • Career Center
  • Contact Us

  • ห้อง 722 อาคารอมรภูมิรัตน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

    02 9428 528 | 08 3908 0797

    pr@fostat.org

    สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT)

Copyright © 2016 FoSTAT

Please wait...