Food Science and Technology Association of Thailand
วิทยากร : ดร. ศิริพร พิพัฒสัตยานุวงศ์ ฉั่ว (บริษัท อินโนเฟรช จำกัด)
ดร. กัณณพนต์ โล่ห์เพชรัตน์ (บริษัท นูโว เซ็นทริก จำกัด)
หัวข้อการอบรม
20 สิงหาคม 2568
นวัตกรรมกับธุรกิจ และ การเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินผลิตภัณฑ์ด้วยผู้บริโภคและการประเมินทางประสาทสัมผัสแบบต่างๆในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่โดยจะครอบคลุม เนื้อหาดังต่อไปนี้
1.นวัตกรรม – ความหมาย ประเภท ความเสี่ยงในการรังสรรค์นวัตกรรม
2.กิจกรรมทางธุรกิจกับจุดประสงค์การทำงานวิจัยผลิตภัณฑ์
3.กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่กับนวัตกรรม และการวิจัยผลิตภัณฑ์ด้วยผู้บริโภคและการประเมินทางประสาทสัมผัส
4.แนะนำเครื่องมือในการประเมินผลิตภัณฑ์ด้วยผู้บริโภคและการประเมินทางประสาทสัมผัสแบบต่าง ๆ พร้อมตัวอย่าง
5.ประเภทของการประเมินทางประสาทสัมผัส
6.เกณฑ์สำคัญ 2 ประการในการเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินฯแบบต่าง ๆ
7.ปัจจัย 5 อย่างที่ส่งผลกระทบต่อการออกแบบงานวิจัยผลิตภัณฑ์ด้วยผู้บริโภคและการประเมินทางประสาทสัมผัส
เครื่องมือในการประเมินทางประสาทสัมผัสเพื่อสนับสนุนและยืนยันคำกล่าวอ้างคุณค่าและประสบการณ์ที่แตกต่างที่ได้จากผลิตภัณฑ์จากการรังสรรค์นวัตกรรมแบบต่างๆ ดีกว่า แรงกว่ามากกว่า ปรับปรุงสูตรใหม่ให้แตกต่างจากของเดิม – ประยุกต์ใช้การประเมินความแตกต่างในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แตกต่าง
1.1.Difference testing แบบต่าง ๆ
1.2.Difference testing กับ Discrimination testing ความเหมือนที่แตกต่าง
1.3.ประเภทของ Difference test แบบต่าง ๆ พร้อมข้อดีและข้อเสีย
1.4.ออกแบบให้ดีกว่า พิสูจน์ได้โดยใช้ 2-Alternative Forced Choice testเครื่องมือในการประเมินทางประสาทสมัผสัเพื่อสนับสนุนและยืนยันคำกล่าวอ้างคุณค่า และประสบการณ์ที่แตกต่างที่ได้จากผลิตภัณฑ์จากการรังสรรค์นวัตกรรมแบบต่างๆ ดีกว่า แรงกว่า มากกว่า ปรับปรุงสูตรใหม่ให้แตกต่างจากของเดิม – ประยุกต์ใช้การประเมินความแตกต่างในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แตกต่าง
2.ลดราคาต้นทุน ปรับปรุงสูตรใหม่ให้เหมือนของเดิม – ประยุกต์ใช้การประเมินความแตกต่างในการลดต้นทุนหรือเปลี่ยนซัฟพลายเออร์
2.1.รู้ว่าเปลี่ยนไปแต่บอกไม่ถูกใช้ Warm-up procedure
2.2.ลดค่าใช้จ่ายในการทดสอบใช้ Warm-up 2-Alternative Forced Choice test
2.3.เพิ่มประสิทธิภาพการทดสอบเดิม ๆ ด้วย Warm-up Triangle test/Duo-trio test
2.4.Difference from control test ใช้ง่าย ใช้ดี ถ้ามีการฝึกฝน
2.5.ถามผู้บริโภคเพื่อยืนยันความแตกต่าง ใช้ R-index กับ Difference from control test
3.กระบวนงานใหม่ในการทดสอบความแตกต่าง
3.1.Thurstonian Model
3.2.d’ (d-prime) value และ ดรรชนีอาร์ (R-index)
3.3.การให้คะแนนความมั่นใจ (sureness rating)
3.4.การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis)
21 สิงหาคม 2568
Workshop
Workshop 1: Overall difference test และการวิเคราะห์ผล
Workshop 2: Directional overall difference test และการวิเคราะห์ผล
Workshop 3: Big difference – Different-from-Control test
Workshop 4: 2-Alternative Forced Choice (2-AFC) และการวิเคราะห์ผล
Workshop 5: Same-Difference-Test กับการใช้ sureness rating และการวิเคราะห์ผลด้วย R-index
ค่าลงทะเบียน (รวม VAT 7%) สมาชิก FoSTAT ราคา 5,500 บาท บุคคลทั่วไป ราคา 5,900 บาท
ลงทะเบียน
https://bit.ly/3PNUvou
20/ 08/ 2025 - 21/ 08/ 2025
08:30 AM - 04:30 PM
ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพฯ